จากเอกสารเผยแพร่ของ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) (สพร.) หรือ Digital Government Development Agency (Public Organization) (DGA) เรื่อง การใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนสำหรับภาครัฐ พิมพ์ครั้งที่ 1.1 มกราคม 2562 ให้ความรู้ขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับหลักการทำงานของเทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain Technology) อย่างน่าสนใจ จึงขอนำมาถ่ายทอดโดยสรุปดังนี้
ความหมาย Blockchain คือ เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลแบบ Shared Database หรือที่รู้จักกันในชื่อ “Distributed Ledger Technology (DLT)” โดยเป็นรูปแบบการบันทึกข้อมูลที่รับประกันความปลอดภัยว่าข้อมูลที่บันทึกไปก่อนหน้านั้นไม่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไข ซึ่งทุกผู้ใช้งานจะได้เห็นข้อมูลชุดเดียวกันทั้งหมด โดยใช้หลักการ Cryptography และความสามารถขอ Distributed Computing เพื่อสร้างกลไกความน่าเชื่อถือ |
หลักการทำงาน หลักการทำงานของเทคโนโลยี Blockchain คือ ฐานข้อมูลจะแชร์ให้กับทุก Node ที่อยู่ในเครือข่ายและการทำงานของเทคโนโลยี Blockchain จะไม่มีเครื่องใดเครื่องหนึ่งเป็นศูนย์กลางหรือเครื่องแม่ข่าย ซึ่งการทำงานแบบกระจายศูนย์นี้จะไม่ถูกควบคุมโดยคนเพียงคนเดียว แต่ทุก Node จะได้รับสำเนาฐานข้อมูลเก็บไว้และจะมีการอัปเดตฐานข้อมูลแบบอัตโนมัติ เมื่อมีข้อมูลใหม่เกิดขึ้น ทั้งนี้สำเนาฐานข้อมูลของทุกคนในเครือข่ายจะต้องถูกต้อง และตรงกันกับของสมาชิกคนอื่นในเครือข่าย อีกทั้งการบันทึกข้อมูลเข้าสู่ Block |
||
Node คือ อุปกรณ์ในเครือข่าย Blockchain เปรียบได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์หรืออื่น ๆที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและประมวลผลได้ซึ่งถือว่าเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญในการกระจายและเชื่อมโยงกันในเครือข่ายเพื่อให้ระบบสามารถทำงานและประมวลผลได้ ทั้งนี้ประเภทของ Node ในเครือข่าย Blockchain สามารถจำแนกได้เป็น
|
องค์ประกอบ
|
ที่มา: ปรับปรุงจาก (Veedvil, 2017) http://www.veedvil.com/news/blockchain |
ขั้นตอนการทำงาน |
||
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 |
ประเภทของ Blockchain
|
โดย รศ. ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ |